การบูรณาการการบริการวิชาการกับการเรียนการสอน การวิจัยและการผลิตบัณฑิตที่เชื่อมโยงภูมิปัญญาระดับท้องถิ่นระดับชาติและระดับสากล

มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด มุ่งการบูรณาการการบริการวิชาการกับการเรียนการสอน การวิจัยและการผลิตบัณฑิตที่เชื่อมโยงภูมิปัญญาระดับท้องถิ่นระดับชาติและระดับสากล นำองค์ความรู้ที่มีความหลากหลายทางวิชาการไปพัฒนาชุมชนเสริมสร้างความเข้มแข็งของผู้นำชุมชนและท้องถิ่น โดยมีการประสานความร่วมมือและช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหว่างมหาวิทยาลัย ชุมชน พัฒนาความรู้ด้านการประกอบอาชีพ เพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชนผ่านการพัฒนาศักยภาพด้านสินค้าและบริการ พัฒนาชุมชนให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

เป้าประสงค์ (Objective)

1. ยกระดับเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นและเขตเมืองด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรมด้วยการวิจัยเป็นฐานพัฒนาผู้ประกอบการในพื้นที่โดยสร้างโอกาสและช่องทางใหม่ๆทางธุรกิจและอาชีพที่เหมาะสมรวมทั้งเสริมหนุนการสร้างธุรกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) และเศรษฐกิจใหม่ (BCG Economy)

2. ยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในพื้นที่โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็ก กลุ่มเปราะบางและโรงเรียนในโครงการพระราชดำริ รวมทั้งการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชากรทุกกลุ่มทุกช่วงวัยในพื้นที่

3. ทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่นและความเป็นไทยเสริมสร้างคุณค่า และจิตสำนึกรักษ์ท้องถิ่น

4. บูรณาการการจัดการเรียน การสอน การวิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม  การพัฒนาท้องถิ่นในพื้นที่บริการ และมีการประเมินผล สังเคราะห์ การบูรณาการ

5. กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ มีสุขภาวะที่ดีทุกช่วงวัย มีการพัฒนาเชิงพื้นที่อย่างยั่งยืนโดยชุมชนสามารถจัดการคนเองได้และมีดัชนีความสุขมวลรวมชุมชน


ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาท้องถิ่น

เป้าประสงค์เป้าหมายตัวชี้วัดค่าเป้าหมายค่าเป้าหมายรายปีกลยุทธ์
25662567256825692570
1.ยกระดับเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นและเขตเมืองด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรมด้วยการวิจัยเป็นฐานพัฒนาผู้ประกอบการในพื้นที่1.1 รายได้ในชุมชนเป้าหมายเพิ่มขึ้น1ก : ร้อยละของรายได้ในชุมชนเป้าหมายที่เพิ่มขึ้นร้อยละที่เพิ่มขึ้น10152025301. พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น วิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการใหม่ในเขตพื้นที่บริการให้ประสบความสำเร็จด้วยองค์ความรู้ 2. บูรณาการการจัดการเรียน การสอน การวิจัย การพัฒนาท้องถิ่นในพื้นที่บริการ  3. บูรณาการความร่วมมือของมหาวิทยาลัยเครือข่ายและ ชุมชนเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืนบ่มเพาะให้ประชาชนในพื้นที่มีความพร้อมด้วยคุณลักษณะ 4 ประการ 4. จัดทำฐานข้อมูลของพื้นที่บริการเพื่อศึกษาวิเคราะห์ปัญหาศักยภาพและความต้องการที่แท้จริงของชุมชน 5. ส่งเสริมผลงานวิจัย งานสร้าง สรรค์และนวัตกรรมนำไปใช้ประโยชน์กับชุมชนท้องถิ่นอย่างเป็นรูปธรรม 6. ส่งเสริมและพัฒนาให้คณาจารย์ผลิตผลงานวิจัยและสรรค์สร้างนวัตกรรมที่ตอบสนองต่อการพัฒนาท้องถิ่น
1.2 เกิดผู้ประกอบการรายใหม่หรือการจ้าง งานใหม่เพิ่มขึ้น1ข : จำนวนผู้ประกอบ การรายใหม่/ผู้ถูกจ้างงานที่เพิ่มขึ้นจำนวนที่เพิ่มขึ้น /ราย-/ 2005/ 25010/ 30015/ 35020/ 400
1.3 เกิดนวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากพืช/สัตว์/วัฒนธรรม เพื่อเศรษฐกิจ1ฃ : จำนวนนวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากพืช/สัตว์/วัฒนธรรม เพื่อเศรษฐกิจ จำนวนผลงาน/ชิ้นงาน11111
1.4 ครัวเรือนที่ได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน 1ค : จำนวนครัวเรือนที่ได้รับการยกระดับให้พ้นเส้นความยากจน จำนวนที่เพิ่มขึ้น /ครัวเรือน50100150200250
1.5 มี big data  platform ที่รวบรวมข้อมูลผลงานนวัตกรรมชุมชน ข้อมูลผู้เชี่ยวชาญและนวัตกรชุมชน1ฅ : จำนวน platform ที่รวบรวมข้อมูลผลงานนวัตกรรมชุมชน ข้อมูลผู้เชี่ยวชาญและนวัตกรชุมชนจำนวน Platform1    1  1    1  1
1.6 ชุมชนเกิดการแลก เปลี่ยนเรียนรู้และใช้ประโยชน์จากวัตกรรมชุมชนที่เกิดจากโครงการหรือกิจกรรมที่ครอบคลุม พันธกิจทั้ง 4 ด้านของมหาวิทยาลัย1ฆ: จำนวนชุมชนที่เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และใช้ประโยชน์จากวัตกรรมชุมชนจำนวนที่เพิ่มขึ้น /ชุมชน1015202530
2. ยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในพื้นที่โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็ก กลุ่มเปราะบาง และโรงเรียนในโครงการพระราชดำริ รวมทั้งการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชากร      ทุกกลุ่มทุกช่วงวัย  ในพื้นที่2.1 คะแนนทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการ ศึกษาของโรงเรียนใน กลุ่มที่มีคะแนนทดสอบน้อยที่สุดเพิ่มขึ้น1ง : ร้อยละของการเพิ่มขึ้นคะแนนทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการ ศึกษาของโรงเรียนในกลุ่มที่มีคะแนนทดสอบน้อยที่สุดเพิ่มขึ้นร้อยละของการเพิ่มขึ้น5101520251. พัฒนาครูประจำการทั่วไปให้มีสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกตามหลักสูตรมาตรฐานสมรรถนะของครูในพื้นที่บริการ 2. พัฒนาหลักสูตร การเรียนรู้ระยะสั้น เพื่อสร้างอาชีพให้กลุ่มเปราะบางให้มีรายได้เพิ่มขึ้น 3. ส่งเสริมและสนับสนุนเครื่องมือและสื่อการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเส้นทางอาชีพและวิชาการโดยมุ่งเน้นคุณภาพผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2 มีหลักสูตรการเรียนรู้ระยะสั้น ที่สามารถสร้างอาชีพให้กลุ่มเปราะบางมีรายได้เพิ่มขึ้น1จ : ร้อยละของกลุ่มเปราะบางมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ5551010
2.3 การพัฒนาให้ครูประจำการทั่วไปมีสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)ตามหลักสูตร ฐานสมรรถนะ ในพื้นที่บริการเพิ่มขึ้น1ฉ : ร้อยละของครูประจำการทั่วไปมีสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตามหลัก สูตรฐานสมรรถนะในพื้นที่บริการเพิ่มขึ้นร้อยละที่เพิ่มขึ้น1015202530
2.4 มีเครื่องมือและสื่อการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเส้นทางอาชีพและวิชาการโดยมุ่งเน้นที่คุณภาพผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น1ช : ร้อยละของเครื่อง มือและสื่อการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเส้นทาง อาชีพและวิชาการโดยมุ่งเน้นที่คุณภาพผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อให้ผู้เรียน  มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นร้อยละที่เพิ่มขึ้น1010202530
2.5 อัตราการเรียนต่อระดับอุดมศึกษาหรือการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของประชากรในพื้นที่บริการเพิ่มขึ้น1ซ : อัตราการเรียนต่อระดับอุดมศึกษาหรือการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของประชากรในพื้นที่บริการเพิ่มขึ้นร้อยละที่เพิ่มขึ้น5551010
3. ทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่นและความเป็นไทยเสริมสร้างคุณค่าและจิตสำนึกรักษ์ท้องถิ่น3.1 นักศึกษาและบุคลากรที่เข้าร่วมโครงการในศิลปวัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่นและความเป็นไทย1ฌ : นักศึกษาและบุคลากรที่เข้าร่วมโครงการในศิลปวัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่นและความเป็นไทยร้อยละที่เพิ่มขึ้น70758085901. ส่งเสริมให้นักศึกษา บุคลากรร่วมกันทำกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่นและความเป็นไทย 2. สร้างองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมประเพณี   ภูมิปัญญาท้องถิ่น และความเป็นไทย 3. มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยร่วมกับภาคีเครือข่าย 4.บูรณาการ การวิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมการพัฒนาท้องถิ่นในพื้นที่บริการ 
3.2 มีการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่น1ญ : จำนวนของ   องค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่นจำนวนองค์ความรู้ที่เพิ่มขึ้น12333
3.3 มีแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นและความเป็นไทย1ฎ : แหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นและความเป็นไทยแหล่งเรียนรู้ (สะสม)12345
3.4 มีกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่ายที่ดำเนินการด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย1ฏ : กิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่ายที่ดำเนินการด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยกิจกรรม33333
4. บูรณาการการจัดการเรียน การสอน การวิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมการพัฒนาท้องถิ่นในพื้นที่บริการและมีการประเมินผล สังเคราะห์ การบูรณาการ4.1 หลักสูตรปริญญาตรี ที่นำมาบูรณาการเรียน การสอน การวิจัย บริการวิชาการและ ทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรม การพัฒนาท้องถิ่นในพื้นที่บริการ1ฐ : ร้อยละของหลัก สูตรระดับปริญญาตรี    ที่นำมาบูรณาการ การเรียน การสอน การวิจัย บริการวิชาการและ  ทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรมการพัฒนาท้องถิ่นในพื้นที่บริการร้อยละ100100100100100หลักสูตรที่นำมาบูรณาการ การเรียนการสอน การวิจัย บริการวิชาการและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การพัฒนาท้องถิ่นในพื้นที่บริการ
5. กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ มีสุขภาวะที่ดีทุกช่วงวัย มีการพัฒนาเชิงพื้นที่อย่างยั่งยืนโดยชุมชนสามารถจัดการคนเองได้และมีดัชนีความสุขมวลรวมชุมชน5.1 ประชาชนทุกช่วงวัย ได้รับการพัฒนา คุณภาพชีวิตและสุขอนามัยที่ดีขึ้น1ฑ : ร้อยละของประชาชนทุกช่วงวัย  วัยเด็ก วัยเรียน ผู้สูงอายุ ได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสุขอนามัยที่ดีขึ้นร้อยละ6065707580ส่งเสริมให้มีการเสริมสร้างสุขภาพบุคคลทุกช่วงวัย
1ฒ : ร้อยละของเด็กปฐมวัยได้รับการประเมินการเจริญเติบโตและพัฒนาการอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งสมวัยร้อยละ6065707580
1ณ : ร้อยละของเด็ก  วัยเรียนได้รับการสร้างเสริมสุขภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจ     โดยมีครูและผู้ปกครอง  มีส่วนร่วมร้อยละ6065707580
1ด : ร้อยละของผู้สูงวัยในชุมชนได้รับการประเมินภาวะสมองเสื่อมและส่งเสริมป้องกันภาวะสมองเสื่อมโดยครอบครัวมีส่วนร่วมร้อยละ6065707580